สลายฝ้า จบปัญหาผิว

Last updated: 22 พ.ค. 2566  |  407 จำนวนผู้เข้าชม  | 

สลายฝ้า จบปัญหาผิว

สลายฝ้า จบปัญหาผิว


ฝ้า (Melasma) คืออะไร

     ฝ้าเกิดจากเม็ดสีเมลานินใต้ผิวหนังผิดปกติ ซึ่งลักษณะของฝ้าจะเป็นรอยสีน้ำตาล เมื่อนานขึ้นหากไม่ได้รับการรักษา เม็ดสีเมลานินเหล่านั้นจะยังคงอยู่และเข้มขึ้นเรื่อยๆ บริเวณที่เกิดฝ้าได้บ่อยที่สุด คือบริเวณแก้ม โหนกแก้ม โดยปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดฝ้านั้นมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็นแสงแดด ยาคุมกำเนิด การตั้งครรภ์ ยารักษาโรค(ยาบางกลุมจะมีความไวต่อแสง) พันธุกรรม เครื่องสำอางค์และความผิดปกติของภูมิต้านทาน


ลักษณะของฝ้า

ฝ้าลึก

     ฝ้าอยู่ในชั้นผิวหนังที่ลึกลงไปทำให้มีความจางมากกว่า เป็นฝ้าที่รักษาให้หายได้ยาก เพราะเกิดในชั้นผิวที่ลึกกว่าผิวหนังกำพร้า จนเกิดความผิดปกติในระดับผิวหนังแท้ ฝ้าแบบลึกจะมีสีอ่อนกว่าฝ้าตื้น โดยอาจจะมีสีน้ำตาล เทา หรือม่วงก็ได้ ขอบของฝ้าจะไม่ชัดเจนมาก

ฝ้าตื้น

     ฝ้าแบบตื้น เป็นชนิดฝ้าที่เกิดได้ง่าย สามารถรักษาให้จางลงได้ง่าย เพราะเกิดในชั้นผิวหนังกำพร้า หรือผิวหนังชั้นนอก ถึงแม้ฝ้าชนิดนี้จะรักษาได้ง่าย แต่การลดฝ้า กระ จุดด่างดําตามธรรมชาตินั้นทำได้ยากมากอยู่ดีจะมีลักษณะสีน้ำตาลเข้ม เห็นขอบได้ชัด

 


 

การรักษาฝ้า

- การใช้ครีมกันแดด (Sunscreen)
     ควรใช้ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดดที่มี SPF ตั้งแต่ 50 PA+++ ขึ้นไป เพื่อปกป้องผิวจากแสงแดดสาเหตุการเกิดฝ้า


- การผลิตภัณฑ์กลุ่มไวท์เเทนนิ่ง
     ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยให้ผิวหน้ากระจ่างใสขึ้นจะช่วยให้ฝ้าดูจางลง เหมาะสำหรับการรักษาฝ้าตื้น

- การดูแลรักษาโดยใช้ยาที่ควบคสร้างเมลาโทนิน
     ยาที่สามารถควบคุมการสร้าง Melanin หรือกินวิตามินกลุ่ม Anti-oxidant ที่ปราศจากสารปรอท และลดการสร้างเม็ดสีที่มีประสิทธิภาพ และยาที่ใช้ควรมีความปลอดภัยมีผลข้างเคียงน้อย ซึ่งการรักษาที่มีประสิทธิภาพทำให้ฝ้าจางลง 80-90% 

- การฉีดเมโส (MesoTherapy)
     การฉีดเมโสในกลุ่มที่มีส่วนผสมของการยับยั้งการสร้างเมลาโทนิน และกลุ่มไวท์เทนนิ่งให้ผิวหน้าดูกระจ่างใส ฝ้าก็จะลดลงไปด้วย แต่ต้องมีการฉีดอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ประสิทธิภาพของการรักษาสูงสุด

- การใช้เลเซอร์ (Laser)
     การรักษาด้วยเลเซอร์ ที่มีประสิทธิภาพในการลดเม็ดสีเมลาโทนิน เช่น Nd Yag,IPL เป็นต้น


วิธีการป้องกันการเกิดฝ้า

1.หลีกเลี่ยงการโดนแดดจัดเป็นเวลานาน มีอุปกรณ์ป้องกันจากแสงแดด เช่น หมวก ร่ม แว่นกันแดด เป็นต้น 
2.ควรใช้ผลิตภัณ์ครีมกันแดดที่มีส่วนผสมของ SPF 50 PA+++ขึ้นไป ใช้ในปริมาณที่เหมาะสมกับผิว
3.ในกลุ่มผู้ที่มีการทานยาคุมกำเนิดควรปรึกษาแพทย์ก่อน เนื่องจากการทานยาคุมทำให้ร่างกายและฮอร์โมนทำงานผิดปกติ ส่งผลต่อสร้างเม็ดสีเมลาโทนินได้
4.ในกลุ่มผู้ที่รักโรคยาบางกลุ่มอาจจะก่อให้เกิดฝ้า ควรปรึกษาแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญก่อนการซื้อยา


----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


Melasma : What is it?

     
Melasma is caused by abnormal melanin pigments beneath the skin. The appearance of melasma is characterized by brown patches that become darker over time if left untreated. The most common areas affected by melasma are the cheeks and forehead. There are various factors that contribute to the development of melasma, such as sun exposure, birth control pills, pregnancy, certain medications (some are photosensitive), genetics, cosmetics, and abnormalities in the immune system.


Characteristics of Melasma :

Deep Melasma : Deep melasma occurs in the deeper layers of the skin, making it more challenging to treat. It causes abnormalities in the dermis, which is deeper than the epidermis. Deep melasma appears lighter in color compared to superficial melasma and can be brown, gray, or purple. The borders of deep melasma are less defined.

Superficial Melasma : Superficial melasma occurs in the outermost layer of the skin or the epidermis. It is easier to treat compared to deep melasma. However, completely eliminating freckles or dark spots associated with melasma can still be difficult. Superficial melasma appears as dark brown patches with clear borders.


Treatment for Melasma :

Sunscreen :

     It is recommended to use sunscreen with an SPF of 50 or higher and PA+++ to protect the skin from sun exposure, which is a leading cause of melasma.
Whitening Products :

     Use products that help brighten the complexion, as they can help reduce the appearance of melasma. These products are suitable for treating superficial melasma.
Medications that regulate melanin production: Use medications that control melanin production or consume antioxidants that are free from retinoids. These medications should be safe and have minimal side effects. Effective treatment can reduce melasma by 80-90%.
MesoTherapy :

     MesoTherapy involves injecting substances that inhibit melanin production and promote a clear complexion. This treatment can also help reduce melasma. However, it requires continuous sessions to achieve maximum effectiveness.
Laser Treatment :

     Laser treatments such as Nd Yag and IPL can effectively reduce melanin pigments associated with melasma.


Prevention of Melasma :

1.Avoid prolonged sun exposure and use protective accessories such as hats, umbrellas, and sunglasses.
2.Use sunscreen with SPF 50 or higher and PA+++ in appropriate amounts for your skin.
3.If you are taking birth control pills, consult a physician, as these can affect hormone levels and contribute to melasma.
4.If you have certain medical conditions that may trigger melasma, consult a specialized physician before purchasing any medication.

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้